เตาเผาถ่านขนาดเล็กโดยถัง 200 ลิตร
:: ::
 
:: ติดต่อเรา::

Fax: 02-6735670

(Webmaster)
ฝ่ายผลิตและบรรจุภัณฑ์
คุณ พรสถิตย์ 081-5510046

ฝ่ายการตลาด
คุณ อาณุภาพ 081-4466153


:: ส่งเมลล์หาเพื่อน

:: เผาแกลบที่อัดแล้วเป็นถ่าน
:: แท่งเชื้อเพลิงจากแกลบ
:: แท่งเชื้อเพลิงเขียว
:: ถ่านไม้ไผ่เพื่อสุขภาพ
:: ถ่านอัดแท่งผสมสารเคม
:: ------ ::

:: รูปเตาเผาถ่านในปัจจุบัน
:: รูปแบบลักษณะเตาเผาถ่าน
:: ความรู้พื้นฐานการเผาถ่าน
:: เผาถ่านจังหวัดกาฬสินธุ์
:: เผาถ่านสหกรณ์ขอนแก่น
:: เผาถ่านสวนป่าสมเด็จ
:: เผาถ่านไม้โกงกาง
:: ------ ::

:: ปลูกไม้ยูคาก่อนเผาเป็นถ่าน
:: ถ่านจากสวนป่าไม้ยูคา
:: การใ้ช้ประโยชน์จากถ่าน
:: น้ำส้มควันไม้ที่ได้จากถ่าน
:: ประโยชน์จากน้ำส้มควันไม
:: ------ ::

:: เปรียบเทียบวิธีการผลิตถ่าน
:: วิเคราะห์ถ่านเปลือกยาง
:: วิเคราะห์ถ่านเปลือกทุเรียน
:: ค่าความร้อนถ่านชีวภาพ
:: ผลิตถ่านกัมมันต์จากกะลา
:: แท่งถ่านจากวัสดุเหลือใช้
:: ผลกระทบถ่านหินอัดก้อน
:: ------ ::

:: มาตรฐานถ่านอัดแท่ง
:: มาตรฐานถ่านดูดกลิ่น
:: มาตรฐานถ่านไม้หุงต้ม
:: มาตรฐานถ่านไม้ปิ้งย่าง
:: มาตรฐานถ่านโค้กอัดก้อน
:: ------ ::

:: ถ่านอัดแท่งจากซังข้าวโพด
:: ถ่านอัดแท่งเปลือกทุเรียน
:: ถ่านอัดแท่งจากแกลบ
:: ถ่านอัดแท่งจากลิกไนต
:: ------ ::

:: ผลิตถ่านอัดแท่งจากกะลา
:: ผลิตถ่านอัดแท่งจากแกลบ
:: ผลิตถ่านไม้ด้วยเตาอิวาเตะ
:: ผลิตถ่านไม้นครศรีธรรมราช
:: ------ ::

:: เครื่องอัดถ่านที่ใช้ปัจจุบัน
:: เครื่องอัดถ่านรุ่นใหม
:: ------ ::

:: การส่งออกถ่านไม
:: การส่งออกถ่านอัดแท่ง
:: ------ ::

:: เครือข่ายด้านพลังงาน
:: คลีนิคเทคโนโลย
:: โครงการในพระราชดำรี
:: วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
:: กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
:: ------ ::

:: ก้าวทันโลก ::
:: ราคาน้ำมันหน้าปั้มวันนี้
:: อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา
:: พยากรณ์อากาศวันนี้
:: สภาพการจราจรล่าสุด
:: ข่าวสารจราจร สวพ. 91
:: มองเศรษกิจไทย
:: ราคาสินค้าการเกษตร
:: สมุดหน้าเหลือง
:: ------ ::

:: ไทยรัฐ
:: The Nation
:: เดลินิวส
:: สยามรัฐ
:: มติชน
:: ข่าวสด
:: คมชัดลึก
:: ฐานเศรษฐกิจ
:: ประชาชาติธุรกิจ
:: กรุงเทพธุรกิจ
:: อ.ส.ม.ท
:: ผู้จัดการ

:: พันธมิตรของเรา ::
:: Thai Market Place
:: Thai Food Corner
:: Siam Matket
:: ------ ::



เตาเผาถ่านขนาดเล็กโดยถัง 200 ลิตร ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

 

 องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ ได้คิดค้นดัดแปลงเตา เผาถ่าน ซึ่งมีขนาดเล็ก ราคาถูก เหมาะสำหรับผู้มีทุนทรัพย์น้อย สามารถ ย้ายไปยังแหล่งที่มีวัตถุดิบได้ง่าย เตาเผาถ่านแบบนี้ใช้เผาได้ทั้งกิ่งไม้เล็ก ๆ หรือเศษไม้ที่เหลือจากการก่อสร้าง นอกจากนี้ยังใช้เผาถ่านจากกะลามะพร้าวได้เป็นอย่างดีอีกด้วย รายละเอียดเกี่ยวกับเตาและวิธีทำเตามีดังนี้

ตัวเตา

- นำถังน้ำมันขนาดความจุ 200 ลิตร มาเปิดฝาด้านบนออก เก็บ ฝาที่เปิดออกนี้ไว้ใช้ในการเผาด้วย
- เจาะรู 4 รู ให้ชิดขอบด้านที่เปิดฝาออกพอให้ท่อน้ำขนาด 1/2 นิ้ว สอดเข้าไปยังถังได้ (ดูภาพประกอบ)
- เจาะรูข้างถังอีก 3 รู ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 นิ้ว เรียงกันลง ในแนวดิ่งให้รูทั้งสามห่างเท่า ๆ กัน และอยู่ห่างจากปากถังประมาณ 6 นิ้ว ใช้เป็นช่องลม
- เอาข้อต่อท่อน้ำขนาด 2 นิ้ว มาเชื่อมต่อรูที่เจาะไว้ทั้ง 3 แห่ง และ หาลูกอุดสำหรับข้อต่อ 2 นิ้ว เตรียมไว้ 3 ลูก

วัตถุที่จะมาเผา ถ้าเป็นกะลามะพร้าวหรือเศษไม้เล็กๆ น้อยๆ ก็ใช้ เผาได้ทันที แต่ถ้าเป็นไม้ใหญ่ควรผ่าให้เล็กลงไม่เกินขนาดข้อมือ ถ้ายาวมาก ก็ตัดให้สั้นลงประมาณไม่เกิน 1 เมตร ไม้แห้งจะเผาได้ดีกว่าไม้ที่เปียกชื้น

วิธีเผา

1. ตั้งถังให้ช่องลมตรงทางลม แล้วจึงเริ่มจุดไฟในถังด้วยเศษไม้ เล็ก ๆ ก่อน เมื่อไฟสุกดีแล้ว จึงเติมฟืนลงไปจนเต็มถังให้ไฟลุกดีตลอดเวลา ถ้าเป็นกะลามะพร้าวต้องคอยเติมลงไปทีละน้อยให้ไฟลุกดีไม่ดับ
2. ใช้กิ่งไม้สดสอดเข้าไปทางช่องลม ช่วยเขี่ยให้ไฟลุกดีไม่อุดตัน จนเห็นว่าช่องลมรูล่างมีถ่านเต็มและไฟลุกสว่างเป็นสีนวลดีแล้วจึงปิดช่อง ลมด้วยลูกอุด ในขณะเดียวกันยังคงเติมฟืนหรือกะลามะพร้าวให้ไฟลุกตลอด เวลา จนถ่านเต็มรูที่สองและไฟลุกสว่างดีแล้ว จึงอุดรูที่สองเช่นเดียวกับครั้ง แรก รูที่สามก็ทำเช่นเดียวกัน และยังคงเติมเชื้อเพลิงอยู่ตลอดเวลา
3. เมื่อเห็นว่าถ่านเต็มถังหรือหมดเชื้อเพลิงและไฟลุกสว่างดีจึงเอา ฝาถังปิดลงไป แล้วเอาท่อเหล็กที่เตรียมไว้สอดเข้าไปในรูให้ฝาถังอยู่ใต้ท่อ เหล็ก ยกถังคว่ำบนดินหรือทราย ใช้ดินหรือทรายอุดช่องต่าง ๆ ให้หมด และขันเกลียวลูกอุดให้แน่นไม่ให้อากาศเข้าได้ ถ้ามีรูรั่วใช้ดินเหนียวอุดไว้ แล้วทิ้งไว้ค้างคืน
4. วันรุ่งขึ้นเมื่อถังเย็นดีแล้วจึงเทถ่านออกพร้อมทั้งพรมน้ำเล็ก น้อยลงบนถ่านให้ทั่ว ป้องกันไม่ให้ไฟคุขึ้นมาอีก ทิ้งไว้จนเห็นว่าปลอดภัยดี แล้วจึงนำไปเก็บ
ถ้าต้องการเผาปริมาณมากอาจเผาพร้อมกันได้ทีเดียวหลายถัง โดย มัดถังรวมกันด้วยลวดกลุ่มละ 4-6 ถัง พยายามให้ช่องลมรับลมได้มากที่สุด การเผาพร้อมกันหลายถังและมัดรวมกันนี้ ช่วยไม่ให้สูญเสียความร้อนข้างถังทำให้การเผาดำเนินไปด้วยดี และถ้าเอาฝาที่เปิดออกวางบนปากถังจะใช้ เป็นที่ตากไม้เปียกชื้นได้ด้วย จนไม้ที่ตากไว้เริ่มลุกไหม้จึงเขี่ยลงถังเผาต่อไป
การเผาถ่านวิธีนี้แต่ละครั้งใช้เวลาประมาณ 3-4 ชั่วโมง ถ่านที่ได้จะ เปลี่ยนแปลงไปตามชนิดและสภาพของไม้ที่นำมาเผา แต่ถ้าเป็นกะลามะ-พร้าวจะได้ถ่านประมาณร้อยละ 25 โดยน้ำหนัก ในการเผาถ่านหนึ่งถังต้อง ใช้กะลามะพร้าว ประมาณ 130 กิโลกรัม
วิธีดูแลรักษาเตา
เตาที่ไม่ได้เผาหลาย ๆ วัน ควรชะโลมภายนอกด้วยน้ำมันเครื่องที่ ใช้แล้วเพื่อป้องกันสนิม
ส่วนภายในตัวถัง ผงถ่านและน้ำมันดินจะช่วยป้องกันสนิมได้ ถ้า จำเป็นต้องงดใช้หลาย ๆ สัปดาห์ควรทาน้ำมันเครื่องทั้งภายนอกและภายใน และควรมีหลังคาคลุมไว้เพื่อเก็บไว้ใช้นาน ๆ
 

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
เทคโนธานี ถ.เลียบคลองห้า ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 ประเทศไทย
โทรศัพท์ 0-2577-9000
โทรสาร 0-2577-9009

196 พหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
โทร. 0-2579-1121..30,0-2579-5515,0-2579-0160,0-2579-8533
โทรสาร. 0-2561-4771,0-2579-8533 เทเลกซ์. 21392 TISTR TH
เว็บไซด์ : http://www.tistr.or.th
E-mail: hotline@tistr.or.th

กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี

ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ : 0-2246-0064 , 0-2640-9600
โทรสาร: 0-2246-8106
เว็บไซด์ : http://www.most.go.th
อีเมล์ : helpdesk@most.go.th




WWW.Charcoal.SNMCENTER.COM
ติดต่อฝ่ายการตลาด คุณ อาณุภาพ(จั๊ม) Tel:081-4466153 Fax:02-6735670 Mail: anupapu@thaisumi.com
ติดต่อ ฝ่ายผลิตและบรรจุภัณฑ์ คุณ พรสถิตย์ (เป้) Tel: 081-5510046 Mail : pronsatit@thaisumi.com