บทความการวิจัยศึกษาจาก มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
:: ::
 
:: ติดต่อเรา::

Fax: 02-6735670

(Webmaster)
ฝ่ายผลิตและบรรจุภัณฑ์
คุณ พรสถิตย์ 081-5510046

ฝ่ายการตลาด
คุณ อาณุภาพ 081-4466153


:: ส่งเมลล์หาเพื่อน

:: เผาแกลบที่อัดแล้วเป็นถ่าน
:: แท่งเชื้อเพลิงจากแกลบ
:: แท่งเชื้อเพลิงเขียว
:: ถ่านไม้ไผ่เพื่อสุขภาพ
:: ถ่านอัดแท่งผสมสารเคม
:: ------ ::

:: รูปแบบลักษณะเตาเผาถ่าน
:: ความรู้พื้นฐานการเผาถ่าน
:: เผาถ่านจังหวัดกาฬสินธุ์
:: เผาถ่านสหกรณ์ขอนแก่น
:: เผาถ่านสวนป่าสมเด็จ
:: เผาถ่านไม้โกงกาง
:: ------ ::

:: ปลูกไม้ยูคาก่อนเผาเป็นถ่าน
:: ถ่านจากสวนป่าไม้ยูคา
:: การใ้ช้ประโยชน์จากถ่าน
:: น้ำส้มควันไม้ที่ได้จากถ่าน
:: ประโยชน์จากน้ำส้มควันไม
:: ------ ::

:: เปรียบเทียบวิธีการผลิตถ่าน
:: วิเคราะห์ถ่านเปลือกยาง
:: วิเคราะห์ถ่านเปลือกทุเรียน
:: ค่าความร้อนถ่านชีวภาพ
:: ผลิตถ่านกัมมันต์จากกะลา
:: แท่งถ่านจากวัสดุเหลือใช้
:: ผลกระทบถ่านหินอัดก้อน
:: ------ ::

:: มาตรฐานถ่านอัดแท่ง
:: มาตรฐานถ่านดูดกลิ่น
:: มาตรฐานถ่านไม้หุงต้ม
:: มาตรฐานถ่านไม้ปิ้งย่าง
:: มาตรฐานถ่านโค้กอัดก้อน
:: ------ ::

:: ถ่านอัดแท่งจากซังข้าวโพด
:: ถ่านอัดแท่งเปลือกทุเรียน
:: ถ่านอัดแท่งจากแกลบ
:: ถ่านอัดแท่งจากลิกไนต
:: ------ ::

:: ผลิตถ่านอัดแท่งจากกะลา
:: ผลิตถ่านอัดแท่งจากแกลบ
:: ผลิตถ่านไม้ด้วยเตาอิวาเตะ
:: ผลิตถ่านไม้นครศรีธรรมราช
:: ------ ::

:: เครื่องอัดถ่านที่ใช้ปัจจุบัน
:: เครื่องอัดถ่านรุ่นใหม
:: ------ ::

:: การส่งออกถ่านไม
:: การส่งออกถ่านอัดแท่ง
:: ------ ::

:: เครือข่ายด้านพลังงาน
:: คลีนิคเทคโนโลย
:: โครงการในพระราชดำรี
:: วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
:: กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
:: ------ ::

:: ก้าวทันโลก ::
:: ราคาน้ำมันหน้าปั้มวันนี้
:: อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา
:: พยากรณ์อากาศวันนี้
:: สภาพการจราจรล่าสุด
:: ข่าวสารจราจร สวพ. 91
:: มองเศรษกิจไทย
:: ราคาสินค้าการเกษตร
:: สมุดหน้าเหลือง
:: ------ ::

:: ไทยรัฐ
:: The Nation
:: เดลินิวส
:: สยามรัฐ
:: มติชน
:: ข่าวสด
:: คมชัดลึก
:: ฐานเศรษฐกิจ
:: ประชาชาติธุรกิจ
:: กรุงเทพธุรกิจ
:: อ.ส.ม.ท
:: ผู้จัดการ

:: พันธมิตรของเรา ::
:: Thai Market Place
:: Thai Food Corner
:: Siam Matket
:: ------ ::



การผลิตถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าวโดยใช้โซเดียมคลอไรด์เป็นสารกระตุ้น

 

เรื่อง การผลิตถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าวโดยใช้โซเดียมคลอไรด์เป็นสารกระตุ้น

นามผู้วิจัย นางสาวจิราภรณ์ ธรรมศรี

คณะกรรมการที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ
อาจารย์ธรพร บุศย์น้ำเพชร ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ
อาจารย์กนกวรรณ ศุกรนันทน์ ที่ปรึกษาร่วมปัญหาพิเศษ

 

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้เป็นการทดลองการนำเอากะลามะพร้าวมาใช้ประโยชน์ร่วมกับโซเดียมคลอไรด์ในการผลิตถ่านกัมมันต์ ซึ่งได้ทำการศึกษาถึงสภาวะที่เหมาะสมในการกระตุ้นถ่านกะลาให้เป็นถ่านกัมมันต์ โดยใช้สารโซเดียมคลอไรด์เป็นสารกระตุ้น โดยมีตัวแปรที่จะศึกษาคือ ระยะเวลาในการแช่ถ่านในสารละลานโซเดียวคลอไรด์ อุณหภูมิและระยะเวลาในการกระตุ้น และอัตราส่วนเกลือต่อถ่าน จากนั้นได้นำผลิตภัณฑ์ถ่านกัมมันต์ที่ผลิตได้ไปวิเคราะห์หาค่าไอโอดีนนัมเบอร์ ค่าความชื้น และทดสอบประสิทธิภาพในการดูดซับน้ำสีย้อมผ้า

จากการศึกษาพบว่า สภาวะที่เหมาะสมสำหรับการกระตุ้นถ่านกะลาให้เป็นถ่านกัมมันต์คือ การกระตุ้นที่อุณหภูมิ 700 องศาเซลเซียส ในเตาเผาความร้อนสูงเป็นเวลา 1 ชั่วโมง โดยใช้ตัวอย่างถ่านขนาด 1.68 ถึง 2.38 มิลลิเมตร ผสมกับสารละลายโซเดียมคลอไรด์ในอัตราส่วน 3:1 โดยน้ำหนัก เป็นเวลา 48 ชั่วโมง จะทำให้ได้ถ่านกัมมันต์ที่มีคุณสมบัติดังนี้คือ ค่าไอโอดีนนัมเบอร์เท่ากับ 849 มิลลิกรัมต่อกรัม ค่าความชื้นเท่ากับ 7.2% ซึ่งเมื่อเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมถ่านกัมมันต์แล้วพบว่า ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีคุณสมบัติเป็นถ่านกัมมันต์เนื่องจากค่าไอโอดีนนัมเบอร์มีค่ามากกว่า 600 มิลลิกรัมต่อกรัม ค่าความชื้นมีค่าน้อยกว่า 8% ตามที่ มอก.900-2523 ได้กำหนดไว้

สำหรับประสิทธิภาพในการดูดซับน้ำสีนั้นยังมีค่าค่อนข้างต้ำ คือ 35% เนื่องจากว่า ถ่านกัมมันต์เป็นสารดูดซับที่มีความสารถในการดูดซับอินทรีย์สารได้ดีกว่าอนินทรีย์และสารอื่น

 

คำสำคัญ : ถ่านกัมมันต์/ กะลามะพร้าว/ โซเดียมคลอไรด์/ การกระตุ้น

 

บทความนี้คัดลอกมาจาก บทคัดย่อปัญหาพิเศษ2545-46 สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม



WWW.Charcoal.SNMCENTER.COM
ติดต่อฝ่ายการตลาด คุณ อาณุภาพ(จั๊ม) Tel:081-4466153 Fax:02-6735670 Mail: anupapu@thaisumi.com
ติดต่อ ฝ่ายผลิตและบรรจุภัณฑ์ คุณ พรสถิตย์ (เป้) Tel: 081-5510046 Mail : pronsatit@thaisumi.com